ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ

1. แผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนชุมชน

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
11. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการนำ โครงการพัฒนาท้องภถิ่นนำไปจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ในภาพรวมที่นำไปดำเนินการจัดทำบริการสาธารณะหรือกิจกรรมสาธารณะ ประจำปีงบประมาณ

1.1. แผนพัฒนาท้องถิ่น
1.2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีหรือเพิ่มเติม
1.3. การโอน การแก้ไข เปลี่ยนแปลง คำชี้แจง งบประมาณรายจ่าย
1.4. การขออนุมัติใช้เงินสะสม/การได้รับการจัดสรรเงิน อุดหนุน เฉพาะกิจ ฯลฯ

2. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
33. ร้อยละของข้อร้องทุกข์/ร้องเรียนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดำเนินการสำเร็จลุล่วง

3.1. มีการมอบหมายสำนัก/กอง/ฝ่าย/ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบ และมีคำสั่งแต่งตั้ง
3.2. ทะเบียนรับเรื่องร้องทุกข์/ร้องเรียน
3.3. หลักฐานการรายงานผลให้ทราบภายใน 15 วัน
3.4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
44. ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย เพื่ออำนวย ความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือ
ขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

4.1. คู่มือสำหรับประชาชนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำขึ้น
4.2. ตรวจสอบสัญญาณอินเทอร์เน็ต หรือ Wi-Fi ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการจัดมุมบริการอินเทอร์เน็ต หรือ Wi-Fi
4.3. เอกสารประเมินความพึงพอใจ
4.4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/Facebook/Line กฎหมาย/ระเบียบ
55. การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen Feedback)

5.1. แบบประเมินความพึงพอใจฯ
5.2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่สรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
5.3. เอกสารที่แสดงให้เห็นถึงการให้คะแนนและแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน
5.4. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
66. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา

6.1. คำสั่งแบ่งงานหรือมอบหมายหน้าที่ให้รับผิดชอบเรื่องป้ายโฆษณาบนทางสาธารณะ
6.2. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางแจ้งเบาะแสป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้าทางสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายใน
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์หรือ ช่องทางอื่น เช่น ทางไปรษณีย์ กล่องรับความคิดเห็น เป็นต้น
6.3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการรายงานผลการดำเนินการ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และแจ้งข้อมูลให้กับ
จังหวัดและให้ จังหวัดรายงานผลให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ
6.4. ตรวจสอบการดำเนินการตามมาตรการป้องกันการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา เช่น
รูปถ่าย การประชุมหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่แสดงให้เห็นถึงการดำเนินการตามมาตรการดังกล่าว
6.5. หลักฐานเกี่ยวกับการดำเนินคดีตามกฎหมายกับผู้ติดตั้งป้ายโฆษณาหรือสิ่งอื่นใดที่รุกล้า ทางสาธารณะที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

3. ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมินเกณฑ์การประเมิน
77. การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7.1. คำาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
7.2. รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในตามแบบที่กำหนด แบบ ปค.1 แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 และแบบ ปค.6
7.3. หนังสือนำส่งรายงานให้นายอำเภอ หรือสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด แล้วแต่กรณี
7.4. เอกสารหลัก ฐาน แสดงที่มาในการประเมินความเสี่ยง เช่น รายงานการประชุม หรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องของส านัก/กอง
88. ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑ์ฯที่กระทรวงการคลังกำหนด

8.1. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการมีผู้ดำรงตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายในหรือ
รักษาการในตำแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายในหรือการมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายใน
8.2. กฎบัตรที่ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาให้ความเห็นชอบ
8.3. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการเผยแพร่กฎบัตร หน่วยรับตรวจทราบ
8.4. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการสอบทานความเหมาะสมของกฎบัตรอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
8.5. แผนการตรวจสอบประจำปี ที่ได้รับอนุมัติจากผู้บริหารท้องถิ่น
8.6. รายงานผลการตรวจสอบ
8.7. เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการติดตามผลการดำเนินการตามข้อเสนอแนะจากรายงานผลการตรวจสอบ
9.9. การบริหารจัดการความเสี่ยงระดับหน่วยงานของรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด

9.1. คำสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กร
9.2. แผนการบริหารจัดการความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และเอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการสื่อสสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
9.3. เอกสารหลักฐานการติดตามประเมินผลและทบทวนแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง
9.4. หนังสือรายงานผลตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อผู้บริหารท้องถิ่น

ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา

1. ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
12.12. ร้อยละของค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกคองส่วนท้องถิ่น

12.1. เอกสารแสดงภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลประจำปี
12.2. เอกสารข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
1313. ร้อยละของบุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาประจำปี

ตรวจสอบความสำเร็จจากจำนวนบุคลากรในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการพัฒนาจากหฃักสูตรตามสายงาน
หรือการอบรมต่างๆ จากหน่วยงานภาครัฐ และผ่านหลักเกณฑ์เงื่อนไขของหลักสูตรนั้นๆ
โดยจะพิจารณาจากใบประกาศฯ ผ่านหลักสูตร/การอบรม/ฝึกอบรมนั้นๆ
13.1. สรุปยอดบุคลากร ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2565
13.2. แบบสรุปรายชื่อบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา ประจําปี 2565
13.3. ไฟล์สําเนาใบประกาศจากหลักสูตร/การอบรม พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2565 จนถึงวันที่เข้าตรวจประเมินฯ (เฉพาะจากหน่วยงานรัฐ)

2. ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
1414. ระดับ ความสําเร็จของการบันทึกปรับปรุง และแก้ไขข้อมูลทะเบียนประวัติ
อิเล็กทรอนิกส์ของข้าราชการหรือพนักงาน ส่วนท้องถิ่น ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาลูกจ้าง ในระบบศูนย์บริการ

ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้เจ้าหน้าที่ทะเบียนประวัติ แสดงข้อมูลในระบบ ดังนี
14.1. ระบบแผนอัตรากำลังสามปี ให้ตรวจสอบโครงสร้างส่วนราชการ กรอบอัตรากำลังทั้งหมด ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน
และระบุผู้ครองตำแหน่งหรืออัตราว่าง
14.2. ระบบ ก.พ.7 ข้าราชการสามัญ และระบบ ก.พ.7 ครู ให้ตรวจสอบข้อมูล และรูปถ่ายจากบัตรประจำตัวประชาชน
คำสั่งตำแหน่งและอัตราเงินเดือน ประวัติการศึกษา การฝึกอบรม การถูกลงโทษวินัย (ถ้ามี) ข้อมูลครัวครอบ และอื่นๆ ที่กำหนด
14.3. ระบบประมวลผลและรายงาน ให้ตรวจสอบข้อมูล และจํานวนบุคลากรว่า ถูกต้อง ครบถ้วน
และเป็นปัจจุบันหรือไม่ ทั้งนี้ ตามคู่มือการตรวจสอบ และวิธีการที่ กําหนด

3. การดําเนินกิจการสภาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
1515. การบันทึกข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น ในระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น และทะเบียน อปท.
ให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน (อบจ. เทศบาล อบต. และเมืองพัทยา)

15.1. ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่นและทะเบียน อปท. โดยตรงที่ เว็บไซต์ http://ele.dla.go.th ข้อมูล ณ วันที่ ตรวจสอบ
15.2. ทีมประเมินฯ เปิดข้อมูลจากหน้าเว็บไซต์ http://ele.dla.go.th หัวข้อ ผู้ดํารงตําแหน่ง
15.3. รายงานผู้ดํารงตําแหน่ง (รายบุคคล) ออกโดยเจ้าหน้าที่ อปท.(เอกสารบังคับ)
1616. การพัฒนาความรู้ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่นในรอบปีที่ผ่านมา

16.1. คําสั่ง/หนังสือที่ผู้บริหารเห็นชอบให้เข้ารับการพัฒนาความรู้
หรือหลักฐานจากใบประกาศเกียรติบัตรการอบรมหลักสูตร
การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning)
16.2. รายงานผลการพัฒนาความรู้ที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
1717. การกําหนดสมัยประชุมสามัญ การเรียกประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญ ประจําปี 2565

17.1. เอกสารเกี่ยวกับการกําหนดสมัยประชุม สามัญ การเรียก
ประชุมสภาสมัยสามัญ และการนัดประชุมสภาสมัยสามัญนัดแรก ของแต่ละสมัย
1818. การเสนอและส่งสําเนาร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 มีการดําเนินการ

18.1. หนังสือผู้บริหารท้องถิ่น เสนอญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ให้ประธานสภาท้องถิ่น
18.2. หนังสือประธานสภาท้องถิ่น ส่งร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น
18.3. รายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
1919. การเสนอและพิจารณาคําแปรญัตติร่างข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจําปี พ.ศ. 2566

19.1. บันทึกรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
19.2. บันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการแปรญัตติ
19.3. เอกสารอื่น ๆ เช่น หนังสือนัดประชุม
2020. การจัดทํารายงานการประชุมสภาท้องถิ่น

20.1. ตรวจสอบรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น ทุกครั้ง ในปี 2565
20.2. การเผยแพร่ทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์
(เปิดดูจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศจริงในวันตรวจประเมินฯ)

ด้านที่ 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง

1. การจัดเก็บรายได

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
2222. มีการเร่งรัดติดตามทวงถามผู้ค้างชำระภาษีและค่าธรรมเนียม
บำรุงองค์การบริหารส่วนจังหวัด จากการค้าน้ำมัน ยาสูบ และผู้เข้า
พักในโรงแรม เพื่อให้ชำระเงิน ภายในระยะเวลาที่กำหนด

22.1. ทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีและค่าธรรมเนียมฯ
22.2. ประกาศ คำสั่ง หรือหนังสือเร่งรัดติดตาม ทวงถามผู้ค้างชำระและค่าธรรมเนียม ปี 2565
2323. มีการออกข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ และมีการเก็บเงินค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าใบอนุญาตตามที่กำหนดไว้ในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ

23.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติที่ออกเพื่อจัดเก็บค่าธรรมเนียมและใบอนุญาติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535
เช่น การควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ การกำจัดขยะมูลฝอย การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ การตลาด สถานที่
จำหน่ายหรือสถานที่สะสมอาหาร การจัดการมูลฝอยติดเชื้อการจำหน่ายสินค้าในที่หรือทาง สาธารณะ ฯลฯ
2424. มีแผนที่แม่บทที่แสดงแนวเขตการปกครอง และรูปแปลงที่ดิน เพื่อใช้ในการสำรวจ และจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

24.1. ตรวจสอบผ่านเว็บไซต์ https://ltax.dla.go.th/map/map.jsp
24.2. นำภาพหน้าจอจากการเข้าใช้งานโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ LTAXGIS) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นหรือโปรแกรมอื่นมาแสดง
2525. ร้อยละของจำนวนผู้เสียภาษีป้ายที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2564

ตรวจสอบทะเบีบนคุมผู้ที่ได้ชำระภาษี ภาษีป้ายในปีงบประมาณ 2565 และ 2564 แล้วนำมาคำนวนเปรียบเทียบ
2626. ร้อยละของจำนวนเงินภาษีป้ายที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี 2564

รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปี งบประมาณ 2565 ของภาษีป้าย แล้วนำมาคำนวณ เพื่อเปรียบเทียบประกอบ กับทะเบียนคุมผู้ชำระภาษี
2727. ร้อยละของจำนวนผู้เสียค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาต ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข พ.ศ.2535 ที่เพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีโดยนับจำนวนผู้ที่ได้ชำระค่าธรรมเนียม และใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 ในปี 2565
และ 2564 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ
2828. ร้อยละของจำนวนเงินค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาตตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2535 ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

รายรับจริงประกอบงบทดลอง ประจำปีงบประมาณ 2565 และ 2564 ของค่าธรรมเนียม
และใบอนุญาตตาม พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 แล้วนำมาคำนวณเพื่อเปรียบเทียบ
2929. ร้อยละของจำนวนผู้เสียภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ในปีงบประมาณ 2565 และ 2564 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
3030. ร้อยละของจำนวนผู้ค้างชำระภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้างเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564

ตรวจสอบจากทะเบียนคุมผู้ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ในปีงบประมาณ 2565 และ 2564 ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
3131. มีการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการรับชำระภาษี

สำเนาเอกสาร/ภาพถ่าย แสดงการรับชำระภาษี

2. การจัดท างบประมาณ

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
3232. การตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี(ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ตรวจสอบในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)

3. การบริหารงบประมาณรายจ่าย การจัดท าบัญชี และรายงานการเงิน

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
3333. การประหยัดงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีการจัดซื้อจัดจ้าง
ทุกวิธีและมีเงินเหลือจ่ายจากการจัดซื้อจัดจ้าง เฉพาะค่าครุภัณฑ์ที่ดิน
และสิ่งก่อสร้าง (รวมเงินกัน)

ตรวจสอบในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
3434. การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างพิจารณาจาก
การเบิกจ่ายงบประมาณ พ.ศ.2565

หลักฐานการเบิกจ่าย หรือสรุปรายงานการเบิกจ่ายภายใปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
(ไม่รวมเงินกัน)
3535. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเบิกจ่าย งบประมาณ เงินอุดหนุนสำหรับ
การดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ (อุดหนุน
เฉพาะกิจ)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

35.1. การเบิกจ่ายงบประมาณเงินอุดหนุนสำหรับการดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นการเฉพาะ (อุดหนุนเฉพาะกิจ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 25653
35.2. ตรวจสอบในระบบ New GFMIS Thai
35.3. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจทุกรายการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.25652 เช่น รายการเงินอุดหนุนสำหรับ สนับสนุนการก่อสร้าง
อาคารเรียนและอาคาร ประกอบ รายการเงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการก่อสร้างอาคาร
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรายการเงินอุดหนุนสำหรับก่อสร้าง/ปรับปรุงซ่อมแซมถนนทางหลวงท้องถิ่น เป็นต้น
3636. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใน ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)

36.1. รายงานประมาณ การราย รับ -รายจ่าย จากระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(e-LAAS) ที่เมนูระบบงบประมาณ >อนุมัติข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
36.2. รายงานการโอนงบประมาณและการแก้ไขคำชี้แจงงบประมาณจากระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) ที่เมนูระบบงบประมาณ > รายงานการโอน งบประมาณ >
ประจำปี และที่เมนู ระบบงบประมาณ > รายงานการแก้ไขเปลี่ยนแปลง คำชี้แจง > รายจ่าย
เปรียบเทียบกับเอกสารการอนุมัติการ โอนงบประมาณ หรือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ
3737. การปิดบัญชีและจัดทำรายงานการเงินในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) ประจำปี 2565

37.1. รายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานการเงิน
37.2. ข้อสังเกตหรือรายงานข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบรายงานการเงิน

4. บำเหน็จ บำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
3838. การส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ก.บ.ท.)
ประจำปีงบประมาณ 2565
ครบถ้วน ถูกต้องตามอัตราและระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในเดือนธันวาคม 2564)

38.1. หนังสือตอบรับการรับเงินสมทบประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และใบเสร็จรับเงินที่สำนักงานกองทุนบำเหน็จ
บำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น (ก.บ.ท.) ออกให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
38.2. กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีภาระค่าใช้จ่าย บำเหน็จบำนาญสูงกว่ายอดเงินสมทบที่ต้องนำส่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีหลักฐานการรายงานอำเภอ/จังหวัด
เพื่อขอโอนเงินเพิ่มจาก ก.บ.ท. ภายในเดือนธันวาคม เป็นลายลักษณ์อักษรด้วย
38.3. ไม่รวมรายจ่ายบำเหน็จบำนาญที่เกิดขึ้นใหม่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

5. ผลสัมฤทธิ์การบริหารงานการเงินและการคลัง

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
3939. การทักท้วงด้านการพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

39.1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/จังหวัด/
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปี
หรือ รายไตรมาสขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่
4040. การทักท้วงด้านการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณรายจ่าย
เพิ่มเติมจากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

40.1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/จังหวัด/
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
40.2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายใน ประจำปีหรือรายไตรมาสขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4141. มีการทักท้วงด้านการเบิกจ่ายเงินประจำปีงบประมาณ พ .ศ . 2565
จากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ

41.1. ตรวจสอบหลักฐานข้อทักท้วงที่เป็นลายลักษณ์อักษรของสำนักงาน
การตรวจเงินแผ่นดิน/จังหวัด/
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
41.2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปีหรือรายไตรมาสขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4242. มีการดำเนินการตามข้อทักท้วงของหน่วยที่ตรวจสอบและดำเนินการแจ้งให้
ทราบครบทุกเรื่อง
(ด้านงบประมาณ/พัสดุ/การเบิกจ่ายเงิน/การจัดเก็บรายได้)

42.1. ข้อทักท้วงและการดำเนินการตามข้อทักท้วงของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน/จังหวัด/บุคลากร
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. บันทึกรายงานผลการตรวจสอบภายในประจำปี หรือรายไตรมาสขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ด้านที่ 4 การบริหารสาธารณะ

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
4343. ร้อยละของการซ่อมแซม/ปรับปรุง/ต่อเติมถนน ในความรับผิดชอบขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ตามรายงานผลการตรวจสอบถนนประจำปี

43.1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจ านวนถนน ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น) เพื่อทราบจำนวนถนน ทั้งหมดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
43.2. แผนการตรวจสอบถนนประจำปี โดยจัดลำดับการตรวจสอบตามความจำเป็นที่ปรากฎข้อ
สั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการตรวจสอบและสั่งการ
43.3. ภาพถ่ายก่อนและหลังซ่อมแซม
4444. ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ลงทะเบียน
เป็นทางหลวงท้องถิ่นถึงปีงบประมาณ พ.ศ.2565

44.1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจำนวน ถนน ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
44.2. หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1, ทถ.3, ทถ.4, ทถ.5)
4545. ร้อยละของความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีต ต่อความยาวของถนนทั้งหมดในความรับผิดชอบ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565)

45.1. บัญชีทะเบียนประวัติถนน
45.2. รายงานประจำปีเกี่ยวกับการก่อสร้างถนนลาดยาง (เป็นการลาดยาง ทุกประเภท) / คอนกรีต
3. ภาพถ่าย
4646. การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน

46.1. เอกสารหลักฐานการสำรวจฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
46.2. เอกสารรายงานฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
46.3. แผนพัฒนาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานหรือการวิเคราะห์หรือการพัมนาท้องถิ่น
4747. ร้อยละของถนนทุกสายอยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการติดตั้ง
ไฟฟ้าสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่างๆและสามารถใช้งานได้

47.1. ข้อมูลถนนสายหลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
47.2. แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะหรือสุ่มดูข้อมูลตามจุดเสี่ยง
47.3. หนังสือร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง
47.4. ภาพถ่าย
4848. การตรวจสอบคุณภาพน้ำอุปโภคบริโภคขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ครบทุกระบบประปา

48.1. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาโดยเครื่องมือภาคสนามอย่างง่าย
48.2. รายงานผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำที่ได้มาตรฐานน้ำอุปโภคบริโภค จากหน่วยงานที่มี
อำนาจหน้าที่ในการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
48.3. ผลดำเนินการสืบเนื่องจากการตรวจสอบ
48.4. ภาพถ่าย
4949. ร้อยละของครัวเรือนที่มีปริมาณน้ำประปาใช้เพียงพอต่อความต้องการ

49.1. สรุปผลการแบบสอบถามตามแบบที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด
49.2. รูปถ่ายหลักฐานการทอดแบบสำรวจ

2. ด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิต

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
5050. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดให้มีระบบ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

50.1. ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในแต่ละระดับ
50.2. แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและผลการดำเนินการตามแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่กำหนดไว้
50.3. เอกสารการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาแต่ละระดับ กรณี
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยมีผลการบันทึกข้อมูลและประเมินตนเองในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
การพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานชาติ
50.4. กิจกรรมการติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
50.5. ผลการรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report : SAR)
ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด
5151. โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้ หรือจัดกิจกรรม
ที่ส่งเสริมทักษะการด ารงชีวิต คุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต

51.1. หลักสูตรสถานศึกษา/แผนการจัดการเรียนรู้ (ใช้พิจารณาการดำเนินการ ข้อ 1, 2 และ 3)
51.2. เกียรติบัตร (ใช้ประกอบการพิจารณาการดำเนินการ ข้อ 1 และ 5)
51.3. แบบรายงานโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่นปลูกผักรักษ์โลก (ใช้ประกอบการพิจารณา
การดำเนินการ ข้อ 1)
51.4. คำสั่ง/ประกาศ/หนังสือสั่งการ (ใช้ประกอบการพิจารณาการดำเนินการ ข้อ 4)
51.5. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ (ใช้ประกอบการพิจารณาการดำเนินการ ข้อ 1 – 5)
51.6. ภาพถ่าย/มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ (ใช้ประกอบการพิจารณาการดำเนินการ ข้อ 1 -5)
5252. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันและควบคุมโรคต่างๆ
รวมถึงการเตรียมความพร้อมการรับมือโรคติดต่อโรคอุบัติใหม่ให้แก่ประชาชน(ไม่ใช่การให้ความรู้)

52.1. แผนงานด้านสาธารณสุข (e-LAAS)
52.2. ภาพถ่ายกิจกรรม (ไม่ใช่กิจกรรมเฉพาะบุคคล)
52.3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยให้มีทึมประเมิน
ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
5353. จำนวนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อให้ความรู้แก่
ประชาชนในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค

53.1. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS) ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
53.2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯตรวจสอบ
ในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์ จริงในวันตรวจประเมินฯ)
5454. การบริหารจัดการการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในท้องถิ่น

54.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ รายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
54.2. แผนงานด้านสาธารณสุข (e-LAAS)
54.3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯตรวจสอบในเชิงประจักษ์
(เปิดดูจากเว็บไซต์ จริงในวันตรวจประเมินฯ)
54.4. เอกสารหรือฐานข้อมูล Rabies One Data
54.5. วัสดุ อุปกรณ์ ในระบบลูกโซ่ความเย็น เช่น ตู้เย็นเก็บวัคซีน เทอร์โมมิเตอร์ กระติก
กล่องโฟม Ice pack Data Logger
5555. จำนวนหน่วยบริการสาธารณสุขที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการหรือสนับสนุนในการ
ดูแลสุขภาพประชาชน

55.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
55.2. แผนงานสาธารณสุข (e-LAAS) ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
55.3. ภาพถ่ายกิจกรรม
55.4. หนังสือขอรับการสนับสนุน
5656. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการดำเนินการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบกฎหมายว่าด้วยการ
ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ

56.1. แผนพัฒนาท้องถิ่น
56.2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
56.3. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ในวันตรวจประเมินฯ)
56.4. ภาพถ่ายกิจกรรม
56.5. หนังสือขอรับการสนับสนุน
5858. องค์กรปกครองท้องถิ่นมีการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม
EHA 5000 – 9000

58.1. เอกสารการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA)
58.2. เอกสารแบบประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมองค์กรปกครอง
ท้องถิ่นแต่ละด้านที่กรรมการใช้ใน การตรวจประเมิน (เอกสารที่ได้รับจากกรรมการตรวจประเมิน
หรือ ดาวน์โหลดจาก EHA Smart Web)
58.3. เอกสารสรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครอง
ท้องถิ่นที่มีลายมือชื่อจากคณะกรรมการ (เอกสารที่ได้รับจากกรรมการตรวจประเมิน หรือ ดาวน์โหลด
จาก EHA Smart Web) หรือ หนังสือรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (EHA) ที่ออกโดยกรมอนามัย
5959. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการ
(นอกเหนือจากการจ่ายเบี้ยความพิการ)

59.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
59.2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงในปีงบประมาณ พ.ศ.2565
59.3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
59.4. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ในวันตรวจประเมินฯ)
6060. การจัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคารสถานที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานสำหรับคนพิการ

60.1. ฐานข้อมูลคนพิการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
60.2. ภาพถ่ายกิจกรรม/โครงการ
60.3. กิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหรือสนับสนุน ซึ่งอาจ ใช้ค่าใช้จ่ายจากเงินอุดหนุน
ที่รัฐจัดสรรให้
60.4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
60.5. สำเนาโครงการ
60.6. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัดกิจกรรม
60.7. รายงานผลการดำเนินงาน
6161. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้จัดทำกิจกรรมตามมาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ
ตามองค์ประกอบ 5 ด้าน

61.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
61.2. โครงการที่มีการดำเนินการจริงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
61.3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
61.4. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในวันตรวจประเมินฯ)
6262. ฐานข้อมูลผู้สูงอายุลงในเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

62.1. ฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นปัจจุบัน
62.2. เอกสารรายงานฐานข้อมูลผู้สูงอายุต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อรับทราบ
62.3. ฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
62.4. ฐานข้อมูลผู้สูงอายุลงในเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6363. การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตพื้นที่

63.1. หนังสือขอความร่วมมือในการประสานการคัดกรองหรือการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่
โดยใช้แบบประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เรล (ADL)
63.2. การจัดทำฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงผ่านเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
63.3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ในวันตรวจประเมินฯ)
63.4. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นและจังหวัด
6464. จำนวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดให้มีเพื่อให้ประชาชน
ได้ใช้ในการแข่งขันกีฬาหรือออกกำลังกาย

64.1. ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา ตามแบบแปลนหรือแผนผังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
64.2. ข้อมูลหรือสถิติการใช้ลานกีฬา/สนามกีฬา
64.3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ในวันตรวจประเมินฯ)
6565. จำนวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬา ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีการดำนินการ

65.1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้านการส่งเสริมกีฬา
65.2. บัญชีรายชื่อชมรม/สโมสรการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬา
65.3. บัญชีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การออกกำลังกาย
65.4. ข้อมูลหรือสถิติการใช้ลานกีฬา/สนามกีฬา
65.5. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
65.6. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯ
ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในวันตรวจประเมินฯ)

3. ด้านการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
6666. จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการประกอบอาชีพ นอกเหนือจากการฝึกอบรมมีการดำเนินการ

66.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
66.2. โครงการ/กิจกรรมทึ่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่าย
จากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
66.3. รายงานผลการดำเนินการ เสนอต่อผู้บริหาร
ท้องถิ่นเพื่อทราบ
66.4. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ หรือสามารถเปิดดูจากเว็บไซต์ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในวันตรวจประเมินฯ)
66.5. มีเอกสารหลักฐานหรือภาพถ่ายกิจกรรมโครงการ
6767. สนับสนุนหรือจัดให้มีการโฆษณา/ประชาสัมพันธ์ให้แก่นักท่องเที่ยวมีการดำเนินการ

67.1. ศูนย์ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
67.2. แผนส่งเสริมการท่องเที่ยว
67.3. หลักฐานการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
67.4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
67.5. รายงานประจำปี
67.6. ภาพถ่ายกิจกรรม
67.7. ผลการสำรวจข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว
6868. การจัดทำฐานข้อมูลตลาด

68.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
68.2. แผนงานด้านสาธารณสุข (e-LAAS)
68.3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯ
ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
68.4. รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นและจังหวัด
6969. การพัฒนาเพื่อยกระดับตลาดที่อยู่ในสังกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้
มาตรฐานใน 7 ด้าน

69.1. แนวทางในการติดตามและตรวจสภาพตลาด
69.2. รายงานผลการดำเนินการต่อผู้บริหาร
69.3. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯ
ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
69.4. กิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหรือสนับสนุนการจัดอาจใช้จ่ายจาก
งบประมาณขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือเงินอุดหนุนจากหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเอกชนผู้สนับสนุน

4. ด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
7070. อปท. จัดทำฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น และเผยแพร่ให้ประชาชนได้นำไปใช้
ประโยชน์

70.1. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในการจัดทำฐานข้อมูล
70.2. ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นในรูปแบบเอกสาร/เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
70.3. ช่องทางการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ฐานข้อมูลในเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
70.4. ระบบ INFO ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

5. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
7171. การจัดทำและดำเนินงานตามแผนป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

71.1. แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนฯ
71.2. ฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัยที่เคยเกิด และภัยที่เกิดซ้ำในพื้นที
71.3. แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
71.4. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในการดำเนินการตามแผนฯ
71.5. เอกสารหลักฐานการตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันภัย
71.6. ภาพถ่าย
71.7. ระบบการแจ้งเตือนสามารถใช้งานได
71.8. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
7272. จ านวนกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อป้องกัน และดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

72.1. แผนงาน/โครงการ การป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
72.2. ภาพถ่ายกิจกรรม
72.3. รายงานผลการดำเนินการด้านการป้องกันและดูแลความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สินของประชาชน
72.4. หลักฐานการร่วมงานกับหน่วยงานอื่น
72.5. สถิติเรื่องร้องเรียน
7373. การบริหารจัดการและดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (ศปถ.อปท.)

73.1. คำสั่งแต่งตั้งศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ศปถ.อปท.)
73.2. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
73.3. แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนฯ
73.4. การดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ
73.5. ภาพถ่าย
73.6. การรายงานผลการดำเนินงาน
7474. การส่งเสริมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัยของเด็กปฐมวัยและผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

74.1. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
74.2. แผนงาน/โครงการในการจัดทำแผนฯ หรือประกาศ
74.3. การดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ หรือประกาศ
74.4. ภาพถ่าย

5. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
7575. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่มีการดำเนินการ

75.1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น เช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/จังหวัด สาธารณสุข อำเภอ/
จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่ ฯลฯ
75.2. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เว็บไซต์หลักขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ภาพถ่าย วารสาร แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว ฯลฯ
75.3. ภาพถ่ายกิจกรรม
75.4. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงการส่งเสริมบำบัดฟื้นฟูผู้ติด/ผู้เสพยา หรือการฝึกอบรม

6. ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
7676. การกำจัดผักตบชวาและวัชพืชในแหล่งน้ำสาธารณะ

76.1. ข้อมูลผักตบชวาในฐานข้อมูลขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หัวข้อ มฝ.2
76.2. ถ่ายสำเนาการรายงานผลการดำเนินงานกำจัดผักตบชวาและวัชพืขในแหล่งน้ำสาธารณะในระบบ
สารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกรณีตัดฐานการประเมินจะ
ต้องมีหนังสือถึงจังหวัดหรืออำเภอให้ตรวจสอบด้วย(หนังสือฉบับจริง)
7777. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำฐานข้อมูลสภาพปัญหาน้ำเสียในพื้นที

77.1. บันทึก/รายงานผลการสำรวจสภาพปัญหา น้ำเสียในพื้นที่
77.2. แบบบันทึกข้อมูล หรือ รายงานด้านน้ำเสียตามมาตรา 80 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
77.3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯ ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์
จริงในวันตรวจประเมินฯ)
77.4. ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ รายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
77.5. ข้อตกลงความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี)
77.6. หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น (ถ้ามี)
77.7. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
7979. จำนวนโครงการ/กิจกรรมของกลุ่มอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) เพื่อขับเคลื่อนการจัดการ
เรื่องขยะมูลฝอย

79.1. โครงการ/กิจกรรม
79.2. รายงานผลการดำเนินงานฯ
79.3. ภาพถ่ายกิจกรรม
79.4. รายงานประจำปี
79.5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
79.6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
79.7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
79.8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
8080. การเก็บขนและกำจัดขยะแบบแยกประเภท

80.1. แผนงาน/โครงการ
80.2. ภาพประกอบการดำเนินการ/ภาชนะเก็บขยะแยกประเภทในรถขยะ/การเก็บขยะ แยกประเภท
80.3. รายงานการดำเนินการจัดการขยะประเภทต่าง ๆ หรือผลการดำเนินการที่บ่งชี้ถึงการนำขยะแต่ละประเภท
ไปจัดการอย่างถูกวิธี
8181. จำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำนวัตกรรมท้องถิ่นที่เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

81.1. รายงานเกี่ยวกับการจัดทำนวัตกรรมท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยชุมชน
8282. ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีการคัดแยกขยะมูลฝอยชุมชนที่ต้นทาง

82.1. ฐานข้อมูลขยะมูลฝอยที่เป็นปัจจุบัน
82.2. ตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศ มฝ.2 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
82.3. ตรวจสอบข้อมูลจาก อปท. โดยการสำรวจกิจกรรม/โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับการคัดแยก
ขยะในพื้นที่ ทั้งขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และของเสียอันตรายชุมชน
8383 ร้อยละของครัวเรือนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการจัดทำถังขยะเปียก ลดโลกร้อน

83.1. ฐานข้อมูลขยะมูลฝอยที่เป็นปัจจุบัน
83.2. ตรวจสอบข้อมูลจากระบบสารสนเทศ มฝ.2 ข้อมูลการจัดทำถังขยะเปียกปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
(ภายใน 30 กันยายน 2565) จากระบบสารสนเทศการจัดการขยะมูลฝอย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
8484. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พัฒนาและ
เพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง

84.1. แผนงาน/โครงการ
84.2. รายงานผลการด าเนินงานตามแผนฯ
84.3. ภาพถ่ายกิจกรรม
84.4. รายงานประจำปี
84.5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
84.6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
84.7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
84.8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
84.9. ภาพถ่ายหน้าจอคอมพิวเตอร์แสดงการนำเข้าข้อมูลพื้นที่สีเขียวในระบบฐานข้อมูล/ข้อมูล/รายงาน
พื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ครบถ้วน อย่างน้อย 1 ประเภท
8585. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5
และไฟป่าหมอกควัน

85.1. แผนงาน/โครงการ
85.2. รายงานผลการด าเนินงานตามแผนฯ
85.3. ภาพถ่ายกิจกรร
85.4. รายงานประจ าปี
85.5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
85.6. หนังสือแจ้งเข้าร่วมกิจกรรม
85.7. บัญชีลงลายมือชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
85.8. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
8686. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อส่งเสริมการผลิต การบริโภค
และการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

86.1. แผนงาน/โครงการ
86.2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
86.3. ภาพถ่ายกิจกรรม
86.4. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
86.5. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
86.6. หนังสือเชิญเข้าร่วมกิจกรรม
86.7. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์
86.8. งบประมาณในการจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว
86.9. จำนวนครั้งหรือร้อยละในการใช้บริการจ้างเหมาที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสิ่งแวดล้อม
8787. จำนวนกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการเพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

87.1. แผนงาน/โครงการ
87.2. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ
87.3. ภาพถ่ายกิจกรรม
87.4. รายงานประจำปี
87.5. กรณีร่วมกับหน่วยงานอื่นให้ดูเอกสารที่เกี่ยวข้อง
87.6. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม/จำนวนผู้ใช้ประโยชน์
87.7. ช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
87.8. รายงานข้อมูลแสดงแนวโน้มการประหยัด ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) ในพื้นที่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นและสำนักงาน/ที่ทำการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
87.9. จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมกิจกรรมลดการใช้พลังงาน หรือเปลี่ยนมาใช้พลังงานทดแทน
87.10. งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิง (ย้อนหลัง) เฉพาะภารกิจในสำนักงาน/
ที่ทำการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยไม่รวมภารกิจด้านการบริการ
สาธารณะ
87.11. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน
9090. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำรายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น

90.1. รายงานข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามคู่มือการจัดทำข้อมูล
ก๊าซเรือนกระจกขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องค์การมหาชน)

7. ตัวชี้วัดนำร่อง

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
9191. (นำร่อง) แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

91.1. แผนการดำเนินงาน/นโยบาย เกี่ยวกับการบริหารจัดการจัดก๊าซเรือนกระจก
91.2. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
91.3. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯตรวจสอบใน
เชิงประจักษ์ (เปิดดูจากเว็บไซต์จริงในวันตรวจประเมินฯ)
9393. (นำร่อง) จำนวนครัวเรือนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนินการติดตั้งบ่อ
ดักไขมันครัวเรือน

93.1. เทศบัญญัติ ที่ควบคุมให้อาคาร หมู่บ้านจัดสรร บ้านเรือนที่พักอาศัย ติดตั้งบ่อดักไขมันและระบบน้ำเสีย
เฉพาะพื้นที่หรือระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน
93.2. จำนวนครัวเรือน (สำรวจครัวเรือนจริงที่มีผู้อยู่อาศัยในรอบปี) ในเขตเทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล/เมืองพัทยา
93.3. ภาพถ่ายบ่อดักไข่มันครัวเรือนที่ได้ดำเนินการติดตั้ง

ด้านที่ 5 ธรรมาภิบาล

1. การบริหารราชการเพื่อป้องกันการทุจริต

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
9494. .องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือ
การส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

94.1. แผน/แนวทางเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลัก
ธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
94.2. มีการเผยแพร่ทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ทีมประเมินฯ
ตรวจสอบในเชิงประจักษ์ (เปิดดูจากระบบจริงในวันตรวจประเมินฯ)
94.3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
9595. การส่งเสริมด้านคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการ
ส่งเสริมและพัฒนา
ให้ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่นรักษาวินัย

95.1. ประกาศนโยบายไม่รับของขวัญหรือของกำนัลจากการปฏิบัติหน้าที่
(No Gift Policy)
95.2. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2564
95.3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
95.4. ตรวจสอบการให้บริการช่องทางเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
95.5. หลักฐานเชิงประจักษ์ เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์, ภาพถ่าย, แผ่นพับ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
มติ ก. จังหวัด หรือหนังสือ/คำสั่งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย

2. การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
9696. การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (Participation)

96.1. คำสั่ง/ประกาศจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพร้อมแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ที่เป็นปัจจุบัน
96.2. เอกสารที่เผยแพร่ในศูนย์ข้อมูลข่าวสารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วยกฎหมายจัดตั้งองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภทกฎหมายกระจายอำนาจ แผนพัฒนาท้องถิ่น งบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม
งบประมาณรายจ่ายอื่นๆ และรายงานการประชุมสภาท้องถิ่น
96.3. สถิติผู้มารับบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร และสรุปผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
96.4. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการรับฟังความคิดเห็นการรับและตอบสนอง เรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน
96.5. หลักฐานที่มีการแสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม
บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
96.6. เทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
96.7. ข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น/เว็บไซต์/หลักฐานการเผยแพร่/ถ่ายทอดการประชุมสภาท้องถิ่น

3. การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

ตัวชี้วัดการตรวจสอบการประเมิน
9797. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกชี้มูลความผิดจากหน่วยตรวจสอบ

หนังสือแจ้งชี้มูลความผิดจากหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบ เช่น
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ( ป .ป .ช .)
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.)
สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอำเภอ และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
9898. ระดับคะแนนและระดับผลการประเมินการเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดำเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ ( Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

98.1. เอกสาร/หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของสำนักงาน ป.ป.ช. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
98.2. บันทึกผลคะแนนและข้อเสนอแนะการประเมิน ITA เสนอผู้บริหารท้องถิ่น
98.3. เอกสาร/หลักฐาน/รายงาน หรือหลักฐานอื่น เชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน ITA

By huaima

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *